บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2559
กิจกรรมการเรียนการสอน
วันนี้ใครเข้ามาก่อนก็ไปหยิบตัวปั้มมาปั้มเพื่อเป็นการเช็กชื่อว่ามาเรียน หลังจากที่เพื่อนๆมากันครบหมดทุกคนแล้ว อาจารย์ก็เริ่มเข้าสู่เนื้อหาการสอน อาจารย์ถามนักศึกษาว่าเราเรียนกันไปกี่ครั้งแล้ว เรียนเรื่องอะไรบ้างเพื่อเป็นการทบทวนความรู้หลังจากเรียนไป หลังจากนั้นอาจารย์ก็ถามนักศึกษาว่า นักศึกษามองเห็นภูเขาแล้วนึกถึงอะไรได้บ้าง นักศึกษาตอบตามจินตนาการที่ไม่ซ้ำกัน อาจารย์แบ่งการมองของนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่มองเห็นเกี่ยวกับภูเข้าเลย เช่น ต้นไม้ ดิน หิน เป็นต้น
2.กลุ่มที่มองเห็นแบบเทียบเคียง เช่น มองเห็นเป็นนม เป็นต้น
กิจกรรมต่อไปอาจารย์ให้นักศึกษาเล่นเกม โดยอาจารย์จะพูดคำว่า และให้นักศึกษาตอบห้ามซ้ำกัน
เบิก เช่น เบิกเงิน เบิกวัสดุอุปกรณ์ เบิกบาน เป็นต้น
มะ เช่น มะยม มะไฟ มะปาง เป็นต้น
กะ/กระ เช่น กระชาย กระเทย กระทะ กะหล่ำปลี เป็นต้น
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ถามนักศึกษาว่าการเคลื่อนไหวตรงจังหวะไหนบ้างที่เปิดโอกาสให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์ เช่น
1.การเคลื่อนไหวประกอบเพลง คือการเต้นแอโรบิค เราจะคิดสร้างสรรค์โดยท่าทาง การใช้เพลงโดยมีจังหวะแต่เราจะใช้ท่าทาง
ตามอิสระ
2.การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย เช่นเล่าเรื่องราวโดยให้เด็กคิดท่าทางตามจินตนาการของเด็กเอง โดยเด็กจะทำท่าทางต่างๆ
3.การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง เช่น ครูไม่ควรกำหนดซ้ายขวาให้เด็กเพราะจะทำให้เด็กซับสนเรื่องทิศทางเพราะเด็กยังจำไม่ค่อยได้
4.การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม เด็กจะได้ความสร้างสรรค์คือการเป็นผู้นำ เพราะผู้นำจะเป็นคนคิดและให้ผู้ตามทำตาม
5.การเคลื่อนไหวแบบความจำ เช่น ไปตามมุมต่างๆแต่ครูจะเป็นคนกำหนดมุมต่างๆให้
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแบ่งเป็น 6 กลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาคิดกิจกรรมการเคลื่อนไหว อาจารย์ได้ปรบมือให้นักศึกษาดูเพื่อให้นักศึกษาตอบว่าจังหวะที่อาจารย์ปรบมือคือจังหวะอะไร
จังหวะมี ท3 ระดับคือ ระดับเร็ว ระดับช้า ระดับปกติ การปรบมือระดับปกติก็เหมือนการเต้นของหัวใจ
ต่อไปคือการการออกมานำเสนอกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มได้ช่วยกันระดมความคิดว่าเราจะสอบแบบไหน โดยแต่ละกลุ่มต้องเลือกคนในกลุ่มมาเป็นครู 1 คน เพื่อออกมาสอนกิจกรรมการสอนที่ในกลุ่มเราได้ช่วยกันคิด กลุ่มของเราจับฉลากกันว่าใครจะเป็นคนสอน กลุ่มเราสอนเรื่องการเคลื่อนไหวประกอบเพลง เอาพลง แม่ไก่ออกไข่วันละฟอง โดยผู้สอนคือตัวฉันเอง
ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยการออกแบบกิจกรรมการเคลื่อนไหวเพื่อที่จะเอากิจกรรมที่เราได้ช่วยกันระดมความคิดในกลุ่ม ไปลองสอนเพื่อนๆว่ากิจกรรมที่เราคิดนั้นสามารถสอนเด็กได้จริงไหม
ประเมินผล
ประเมินตนเอง
แต่งกายมาเรียนสุภาพเรียบร้อย ืมาตรงต่อเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์ ตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆแต่งกายมาเรียนสุภาพเรียบร้อย ส่วนมากจะมาตรงต่อเวลากัน ตั้งใจเรียนกันทุกคน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอยสุภาพเรียบร้อย พูดจาไพเราะและเป็นกันเองมาก มาตรงต่อเวลา มีกิจกรรมแปลกใหม่มาให้นักศึกษาทำอยู่เสมอ
วันนี้ใครเข้ามาก่อนก็ไปหยิบตัวปั้มมาปั้มเพื่อเป็นการเช็กชื่อว่ามาเรียน หลังจากที่เพื่อนๆมากันครบหมดทุกคนแล้ว อาจารย์ก็เริ่มเข้าสู่เนื้อหาการสอน อาจารย์ถามนักศึกษาว่าเราเรียนกันไปกี่ครั้งแล้ว เรียนเรื่องอะไรบ้างเพื่อเป็นการทบทวนความรู้หลังจากเรียนไป หลังจากนั้นอาจารย์ก็ถามนักศึกษาว่า นักศึกษามองเห็นภูเขาแล้วนึกถึงอะไรได้บ้าง นักศึกษาตอบตามจินตนาการที่ไม่ซ้ำกัน อาจารย์แบ่งการมองของนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่มองเห็นเกี่ยวกับภูเข้าเลย เช่น ต้นไม้ ดิน หิน เป็นต้น
2.กลุ่มที่มองเห็นแบบเทียบเคียง เช่น มองเห็นเป็นนม เป็นต้น
กิจกรรมต่อไปอาจารย์ให้นักศึกษาเล่นเกม โดยอาจารย์จะพูดคำว่า และให้นักศึกษาตอบห้ามซ้ำกัน
เบิก เช่น เบิกเงิน เบิกวัสดุอุปกรณ์ เบิกบาน เป็นต้น
มะ เช่น มะยม มะไฟ มะปาง เป็นต้น
กะ/กระ เช่น กระชาย กระเทย กระทะ กะหล่ำปลี เป็นต้น
1.การเคลื่อนไหวประกอบเพลง คือการเต้นแอโรบิค เราจะคิดสร้างสรรค์โดยท่าทาง การใช้เพลงโดยมีจังหวะแต่เราจะใช้ท่าทาง
ตามอิสระ
2.การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย เช่นเล่าเรื่องราวโดยให้เด็กคิดท่าทางตามจินตนาการของเด็กเอง โดยเด็กจะทำท่าทางต่างๆ
3.การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง เช่น ครูไม่ควรกำหนดซ้ายขวาให้เด็กเพราะจะทำให้เด็กซับสนเรื่องทิศทางเพราะเด็กยังจำไม่ค่อยได้
4.การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม เด็กจะได้ความสร้างสรรค์คือการเป็นผู้นำ เพราะผู้นำจะเป็นคนคิดและให้ผู้ตามทำตาม
5.การเคลื่อนไหวแบบความจำ เช่น ไปตามมุมต่างๆแต่ครูจะเป็นคนกำหนดมุมต่างๆให้
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแบ่งเป็น 6 กลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาคิดกิจกรรมการเคลื่อนไหว อาจารย์ได้ปรบมือให้นักศึกษาดูเพื่อให้นักศึกษาตอบว่าจังหวะที่อาจารย์ปรบมือคือจังหวะอะไร
จังหวะมี ท3 ระดับคือ ระดับเร็ว ระดับช้า ระดับปกติ การปรบมือระดับปกติก็เหมือนการเต้นของหัวใจ
ภาพกิจกรรมการสอนของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง
กลุ่มที่ 2 การเคลื่อนไหวประกอบเพลง (เพลงแม่ไก่ออกไข่)
กลุ่มที่ 3 การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม
กลุ่มที่ 4 การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย
กลุ่มที่ 5 การเคลื่อนไหวแบบความจำ
กลุ่มที่ 6 การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์
ประโยชน์ที่ได้รับและการนำเอามาประยุกต์ใช้
ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยการออกแบบกิจกรรมการเคลื่อนไหวเพื่อที่จะเอากิจกรรมที่เราได้ช่วยกันระดมความคิดในกลุ่ม ไปลองสอนเพื่อนๆว่ากิจกรรมที่เราคิดนั้นสามารถสอนเด็กได้จริงไหม
ประเมินผล
ประเมินตนเอง
แต่งกายมาเรียนสุภาพเรียบร้อย ืมาตรงต่อเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์ ตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆแต่งกายมาเรียนสุภาพเรียบร้อย ส่วนมากจะมาตรงต่อเวลากัน ตั้งใจเรียนกันทุกคน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอยสุภาพเรียบร้อย พูดจาไพเราะและเป็นกันเองมาก มาตรงต่อเวลา มีกิจกรรมแปลกใหม่มาให้นักศึกษาทำอยู่เสมอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น